วันอาทิตย์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

บันทึอนุทินครั้งที่15

บันทึกครั้งที่ 15
วัน จันทร์ ที่27 เมษายน 2558
***เรียนชดเชย***
ความรู้ที่ได้รับ
1. พัฒนาการหมายถึงอะไร ?
2. การเรียนรู้มีลักษณะอย่างไร ?
3. หากครูไม่ศึกษาพัฒนาการและวิธีการเรียนรู้ของเด็กการจัดประสบการณ์จะเป็นอย่างไร ?
4. คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย มีลักษณะอย่างไร ?
5. คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยแตกต่างจากวิชาคณิตศาสตร์ในระบบการเรียนการสอนของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างไร ?
6. การนำความรู้เกี่ยวกับคณิตศาสตร์หรือการคิดคำนวณมาจัดประสบการณ์ให้เด็กมีแนวคิดอย่างไร ?
7. สาระคณิตศาสตร์ตามกรอบมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัยมีอะไรบ้าง พร้อมยกตัวอย่างการจัดประสบการณ์แต่ละสาระ
8. ผู้สอนบูรณาการคณิตศาสตร์ผ่านรูปแบบการสอนใดได้บ้าง ?
9. ให้ท่านยกตัวอย่างขั้นตอนรูปแบบการสอนบูรณาการคณิตศาสตร์ ?
10. ในการทดลองการจัดประสบการณ์ทำไมการวางโต๊ะและกระดานเขียนต้องมีความสัมพันธ์กับการนั่งของครู
11. ขั้นตอนการจัดประสบการณ์มีอะไรบ้าง พร้อมยกตัวอย่าง
12. ในการทดลองการจัดประสบการณ์มีเทคนิควิธีที่ท่านพึงระวังและควรนำมาใช้มีอะไรบ้าง 
13. จากการศึกษาในรายวิชาการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยท่านได้ความรู้และทักษะใดบ้าง คุณธรรมจริยธรรมที่ได้รับจากรายวิชานี้คืออะไร ท่านสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างไร อาจารย์ใช้เทคนิคการสอนอะไร พร้อมยกตัวอย่าง ท่านมีโอกาสใช้เทคโนโลยีทางการศึกษาบ้างหรือไหม พร้อมยกตัวอย่าง ท่านมีประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้หรือไม่ ถ้ามีให้ท่านยกตัวอย่าง
                                          
ทักษะ
-วิเคราะห์คำถามจากอาจารย์ผู้สอน
- วิคราะห์คำถามร่วมกับเพื่อนมีไหวพริบในการตอบคำถามแสดงความคิดเห็น

วิธีการสอน
-ใช้คำถามในการสอน
-มีการระดมความคิดร่วมกับนักศึกษา
-การแนะนำ-การยกตัวอย่าง ให้นักเรียนเข้าใจง่าย

ประเมิน
สภาพห้องเรียน
- บรรยากาศเย็นสบายเอื้ออำนวยต่อการเรียนอากาศเย็นพอดี
-  อุปกรณ์ในการสอนสะดวกพร้อมใช้งาน
ตนเอง
- มาเรียนตรงเวลา ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมในห้องเรียน 
เพื่อน
- แต่งกายเรียบร้อย เพื่อนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดีไม่คุยกันเสียงดัง
อาจารย์
- แต่งกายสุภาพ เข้าสอนตรงเวลา มีกิจกรรมให้ทำตลอด ทำให้การสอนไม่น่าเบื่อ

บันทึกอนุทินครั้งที่14


บันทึกอนุทินครั้งที่14
วันพุธ ที่ 28 เมษายน พ.ศ.2558
ความรู้ที่ได้รับ
  เพลง ดอกไม้
ดอกไม้มีนานาพันธุ์
มะลิสีขาว กุหลาบสีแดง
ทานตะวันนั้นมีสีเหลือง
เด็กๆ ดูซิน่าชวนชมเอย 
เทคนิคการนำเสนอทดลองการสอน
เรื่อง ดอกไม้ 
1.การร้องเพลง
2.การถามประสบการณ์เดิมของเด็ก เกี่ยวกับดอกไม้ เมื่อเด็กตอบต้องเขียนแผนผังความคิดให้เด็กเห็น
3.นับจำนวนดอกไม้แล้วเขียนตัวเลขกำกับ
4.แยกกลุ่ม
5.แล้วถามถึงขั้นอนุรักษ์ของเด็ก
6.แล้วพิสูจน์ โดยจับคู่ออก 1 ต่อ 1 ถ้ากลุ่มไหนเหลือแสดงว่ามีมากกว่า แต่กลุ่มไหนหมดก่อนแสดงว่ามีน้อยกว่า
7.สุดท้าย สนทนากับเด็ก โดยใช้แผนผังความคิดที่เขียนไว้ก่อนหน้านี้ คือเป็นอันสรุปนั้นเอง

เทคนิคการสอนเด็กในเรื่องของการนับ โดยใช้ขนมบรรจุใส่กล่องไว้
1.การใช้คำถามความน่าจะเป็น ว่า ทั้งหมดในกล่องนี้มีกี่ชิ้น
2.แล้วนำมานับพร้อมกัน โดยมีสื่อที่วางชิ้นขนม เมื่อเวลานับจะได้มองเห็นได้อย่างชัดเจน และต้องเรียงให้เป็นเลขฐานสิบ
ทักษะที่ได้รับ
*วิเคราะห์โดยคำถามจากอาจารย์ผู้สอน*
*การระดมความคิดร่วมกันกับเพื่อนๆในชั้นเรียนหรือในกลุ่ม*
*การแสดงความคิดเห็น*
*การวิเคราะห์การนำเสนอการสอนของเพื่อน*
*การตอบคำถาม*
*การร้องเพลง และแต่งเติมเนื้อเพลง* 

วิธีการสอน
-ใช้คำถามในการสอน
-มีการระดมความคิดร่วมกับนักศึกษา
-การแนะนำ
-การยกตัวอย่าง
-การมีกิจกรรม
-การประเมิน การนำเสนอผลงานของนักศึกษา

ประเมิน
ประเมินสภาพห้องเรียน
   อุปกรณ์ในห้องสะดวกต่อการใช้งาน
ประเมินตนเอง
   มาเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย พูดจาสุภาพ ตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอนในการเรียน
ประเมินเพื่อน
  เพื่อนมีส่วนร่วมในการระดมความคิดและวิเคราะห์ช่วยกันเป็นอย่างดี และช่วยกันให้คำแนะนำเสนอความคิดเห็นและช่วยเหลือในสิ่งที่บกพร่อง รับฟังความคิดของเพื่อน
ประเมินอาจารย์
  เข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพสร้างบรรยากาศในห้องเรียนให้น่าเรียนด้วยเสียง


บันทึกอนุทินครั้งที่13

บันทึกอนุทินครั้งที่13
วันพุธที่ 8 เดือน เมษายน พ.ศ. 2558
ความรู้ที่ได้รับ
เลขที่ 12 น.ส.เจนจิรา เทียมนิล
ชื่อเรื่อง...การจัดการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็ก
เด็กในวัยเรียนรู้โดยอาศัยประสาทสัมผัสรับรู้การเคลื่อนไหวเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสิตปัญญาการจัดการเรียนรู้เน้นให้เด็กพัฒนาประสาทสัมผัสให้มากที่สุดและกระตุ้นให้เด็กได้สัมผัส แตะต้องได้ เห็นสิ่งต่างๆหรือเรียนรู้สิ่งต่างๆซึ่งวิธีการดังกล่าวจะช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆรอบตัว 

เลขที่ 18 น.ส.ยุภา ธรรมโคตร (โทรทัศน์ครู)
ชื่อเรื่อง..ฝึกคิดสร้างสรรค์โดยศิลปะ
ครูให้เด็กหยิบก้อนหินมาตามใจเด็กแล้วครูเตรียมอุปกรณ์เพื่อให้เด็กมาตกแต่งก้อนหิน ซึ่งเชื่อมโยงกับการสอนคณิตศาสตร์คือ ขนาดรูปร่าง –ก้อนหิน  ปริมาณ- มาก น้อย
*เพื่อนแต่ละกลุ่มนำเสนอแผนการสอน เรื่อง ไก่,กล้วย,สุนัข,แตงโม
กิจกรรมการเรียนรู้
-ครูและเด็กร่วมกันร้องเพลงแตงโม
-ครูสนทนาและถามถึงเนื้อหาในเพลงว่ามีแตงโมกี่ชนิด ได้แก่อะไรบ้าง
-ครูถามถึงประสบการณ์เดิม ว่าเด็กมีความรู้เกี่ยวกับแตงโมไหม
-นำแตงโมใส่ตะกร้าแล้วนำผ้ามาปิดไว้เพื่อให้เด็กๆทายว่าในตะกร้ามีอะไรอยู่แล้วให้เด็กนับจำนวนรูปแตงโมที่อยู่ในตะกร้าแล้วแยกประเภทระหว่างแตงโมจินตหราและแตงโมน้ำผึ้งหลังจากนั้นมาพิสูจน์ว่าแตงโมชนิดไหนที่น้อยกว่าและมากกว่ากันโดยแบ่งออกทีละ 1

เพลงแตงโม
แตงโม แตงโม แตงโม
โอ้โฮ้ แตงโม ลูกใหญ่
เนื้อแดง เรียกว่า จินตรา
เนื้อเหลือง นี้เรียกว่า น้ำผึ้ง
เพลงกล้วย
กล้วยคือผลไม้ใครๆก็ชอบกินกล้วย
ค้าง คาว ช้าง ลิง ฉันด้วย กินกล้วยมีวิตามิน
กล้วยส้ม กล้วยหอม กล้วยใข่
ขาดไม่ได้คือกล้วยน้ำหว้า
ตัดใบห่อขนมเธอจ๋า
ส่วนก้านเอามาทำม้าก้านกล้วย
เพลง ไก่ กระต๊าก กระต๊าก
ไก่ ไก่ ไก่ ไก่นั้นมีสองขา
ไก่ชนเดินมา แล้วร้องว่า กระต๊าก กระต๊าก
ไก่ ไก่ ไก่ ไก่นั้นมีสองขา
ไก่เจ้เดินมา แล้วร้องว่า กระต๊าก กระต๊าก
ทักษะ

- มีการร้องเพลงและอ่านคำคล้องจ้อง
- ให้นักศึกษา ได้ออกไปร่วมทำกิจกรรม
วิธีการสอน
- มีการบรรยายโดยการใช้เรื่องสมมุติเสมือนจริง
ประเมิน
สภาพห้องเรียน
-บรรยากาศเย็นสบายเอื้ออำนวยต่อการเรียนอุปกรณ์ในการสอนสะดวกพร้อมพร้อมใช้งาน

ตนเอง
-มาเรียนตรงเวลา ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมในห้องเรียนตั้งใจเรียน
 เพื่อน
-มาเรียนตรงเวลา ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมแต่งกายเรียบร้อย
อาจารย์
-เข้าสอนตรงเวลา มีกิจกรรมมาให้ทุกครั้งที่เรียนสอนสนุก



บันทึกอนุทินครั้งที่12

บันทึกอนุทินครั้งที่12
วัน ศุกร์ ที่3 เมษายน2558
ความรู้ที่ได้รับ
*เก็บตกเพื่อนที่ยังไม่ได้นำเสนอโทรทัศน์ครูและงานวิจัย*
...เลขที่ 25 นำเสนอโรทัศน์ครู เรื่องรายการทอค์ด อะเบาว์ คิดส์ ตอนการสอนคณิตศาสตร์กับเด็กๆ อนุบาล 1
         การจะสอนเด็กให้ดีสอนให้ง่าย ต้องสอนผ่านของเล่น เพราะเด็กเล็กจะเริ่มเรียนรู้ สี ขนาด รูปทรง
แล้วค่อยใช้สัญลักษณ์ตัวเลขเพราะเด็กอนุบาลจะเรียนรู้แบบค่อยๆเป็นค่อยๆไป ซึ่งครูจะสอนโดยใช้แกะเป็นสื่อโดยการถามเด็กผ่านสีของตัวแกะ เด็กจะได้เรียนรู้เรื่องขนาดแล้วสอดแทรกเรื่องการนับให้เด็กนับจำนวนแกะและใช้สัญลักษณ์ตัวเลขอีกวิธีหนึ่งคือวางตัวเลข 1 2 3 แล้วให้เด็กเอากระดุมวางตามจำนวนตัวเลข
...เลขที่4 นำเสนอวิจัย เรื่อง ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
     ใช้การสอนแบบสาธิตและปฏิบัติจริงเป็นรายบุคคลหรือมากกว่าหนึ่งคนในบางกิจกรรม โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้เด็กทำงานไปตามลำดับความยากง่าย และเป็นไปตามความสามารถ และจังหวะ ช้า-เร็วของเด็ก โดยจัดให้เด็กรู้วงจรของงานคือ หยิบงานจากชั้นอุปกรณ์ ปฏิบัติงานจนเสร็จ แล้วจึงนำอุปกรณ์นั้นเก็บคืนชั้นด้วยตนเอง เด็กมีอิสระในการเลือกอุปกรณ์ทำงานด้วยตนเอง
 เด็กสามารถทำงานกับอุปกรณ์นานเท่าที่เด็กต้องการ ในการปฏิบัติกิจกรรมผู้วิจัยเป็นผู้สาธิตการใช้อุปกรณ์แต่ละชิ้นให้กับเด็กก่อนที่เด็กจะทำงานด้วยตนเอง ถ้าเด็กไม่ประสบผลสำเร็จในการทำงานกับอุปกรณ์แต่ละอย่างผู้วิจัยจะทำการสาธิตอีกครั้งหนึ่งจนกว่าเด็กเกิดความเข้าใจและสามารถทำงานนั้นๆ ได้ด้วยตนเอง  เป็นการจัดศึกษากลุ่มประสบการณ์ทักษะพื้นฐานคณิตศาสตร์ตามแนวทาง
    วิธีการของมอนเตสซอรี่ โดยผู้วิจัยคัดเลือกกิจกรรม 15 กิจกรรม ให้สอดคล้องเหมาะสมกับอายุของ
เด็กปฐมวัยที่จะศึกษา คือ อายุระหว่าง 4-5 ปี 
....เลขที่5 นำเสนอวิจัย เรื่องการเปรียบเทียบความพร้อมทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่จัดประสบการณ์โดยใช้เกมการ
     ศึกษาและเพลง กับการจัดประสบการณ์ตามคู่มือ  ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม

กลุ่มแรก    :   ประสบการณ์โดยการใช้เกมการศึกษาเเละเพลง 30 คน
กลุ่มที่สอง   : จัดประสบการณ์ตามคู่มือครู 30 คน

เด็กปฐมวัยกลุ่มทดลองที่จัดประสบการณ์โดยใช้เกมการศึกษาและเพลง มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าเด็กที่ควบคุมที่จัดประสบการณ์ตามคู่มือครูทั้งนี้อาจเพราะเด็ก ชอบเล่นเกม ชอบร้องเพลงอยู่เเล้ว เป็นเรื่องใกล้ตัว เช่นการเล่นเกมจับคู่ ร้องเพลงที่สนุก ทำให้เ็กมีความสุข การเรียนปนเล่น ทำให้เกิดการเรียนรู้อย่างไม่รู้ตัวและการจัดประสบการณ์ตามคู่มือครูอาจเคร่งเครียดจนเกินไป มีเเบบแผน มีกรอบทำให้เด็กอาจไม่มี
ความสุขในการเรียนรู้คณิตศาสตร์
...เลขที่ 6 นำเสนอวิจัย เรื่อง ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ  
  ซึ่งกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบเป็นกิจกรรมที่เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสในการทำกิจกรรมตกแต่งบนขนมอบ คือ ขนมปัง คุกกี้ พาย เค้ก ซึ่งขนมอบทั้ง4ชนิดนี้ มีรูปร่าง รูปทรง เด็กจะได้มีโอกาสเลือกและลงมือปฏิบัติ โดยการทา การโรย การเขียน ตามความคิดและจินตนาการและเด็กยังได้ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สูงขึ้น ดังนี้       
1. ด้านการสังเกตและการจำแนก   ในการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ ได้เปิดโอกาสใเด็กได้เรียนรู้การสังเกตและการจำแนกและได้ลงมือปฏิบัติกับอุปกรณ์และวัตถุดิบจริง โดยครูได้สอดแทรกทักษะการสังเกตและการจำแนกในกิจกรรม เช่น คุกกี้แฟนซี โดยการให้เด็กสังเกตผลไม้ที่ทำกิจกรรมและให้สังเกตวัตถุดิบที่นำมาเหมือนหรือต่างกันอย่างไร   
 2.ด้านการเปรียบเทียบ  การจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ด้วยขนมอบ ได้เปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้ทักษะการเปรียบเทียบ จากวัตถุดิบที่ครูนำมาทำกิจกรรม เช่น กิจกรรมขาไก่สร้างสรรค์ เด็กได้สังเกตขนมขาไก่ที่มีลักษณะที่แตกต่างกันทั้งในด้านขนาดและรูปทรงที่แตกต่าง     
3.ด้านการจัดหมวดหมู่  ได้เปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้ทักษะการจัดหมวดหมู่จากวัตถุดิบที่ครูนำมาทำกิจกรรม เช่น ในการจัดกิจกรรม พวงมาลัยหัวจุก เด็กได้เรียนรู้เรื่องการจัดหมวดหมู่จากกิจกรรมนี้ โดยการจัดหมวดหมู่ตามสีและรูปทรงของขนม

- แบ่งกลุ่มเขียนมายแม็บและแผนการสอน กิจกรรมเสริมประสบการณ์ มีหัวข้อเรื่องคือ สุนัข กล้วย แตงโม ไก่
*กลุ่มพวกเรา ได้แตงโม*

 ซึ่งการออกแบบกิจกรรมจะต้องประกอบไปด้วย
  1. ศึกษา สาระที่ควรเรียนรู้
  2. วิเคราะห์เนื้อหา
  3. ศึกษาประสบการณ์สำคัญ
  4. บูรณาการสาระคณิตศาสตร์
  5. ออกแบบกิจกรรม
ทักษะ
-กระบวนการทำงานเป็นกลุ่มการมีไหวพริบในการตอบคำถาม
-รู้จักการตั้งคำถามในหัวข้อที่ควรจะเน้นเป็นสำคัญ 
-คิดวางแผนการทำงานเป็นขั้นตอนเรียงลำดับ

วิธีการสอน
-สอนโดยการใช้สื่อภาพประกอบรูปสัตว์ต่างๆเพื่อเป็นตัวอย่างในการคิดการสอนโดยใช้เเผน
-เพื่อให้รู้ว่าคณิตศาสตร์สามารถเรียนรู้ได้จากสิ่งรอบตัวในแต่ละวัน

ประเมิน
สภาพห้องเรียน
เทคโนโลยีภายในห้องเรียนพร้อมต่อการใช้งาน  อากาศภายในห้องถ่ายเทได้สะดวก
ตนเอง
เข้าชั้นเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน  และจดบันทึก สรุปเนื้อหาที่อาจารย์สอน
เพื่อน
เข้าชั้นเรียนตรงเวลา และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
อาจารย์
เข้าสอนตรงต่อเวลา การสอนใช้เสียงดังชัดเจน รูปแบบการสอนไม่น่าเบื่อ สนุกสนาน อธิบายถึงเรื่องต่างๆได้อย่างเข้าใจ  

บันทึกอนุทินครั้งที่11

บันทึกอนุทินครั้งที่11
วันศุกร์ ที่25 มีนาคม 2558
ความรู้ที่ได้
การนำเสนอหน้าชั้นเรียน เรียนอาจารย์ที่เคารพ และสวัสดีเพื่อนๆทุกคน แนะนำสมาชิก เช่น ทางด้านซ้าสุดชื่อ.... ถัดมา ถัดมา พูดให้เสียงดังชัดเจน คำควบกล้ำ การออกเสียง ร.เรือ ล.ลิง ให้ชัดเจนการแต่งคำคล้องจองควรที่จะมีการสัมผัสกันระหว่างบทเพื่อความไพเราะ    
 คำคล้องจอง             
1 2 3 1 2 3 _ _     เลข 1 2 3        แล้วตามด้วย 1
 2 3 มาถึง              เลข 1 อีกหน      1 2 แล้ว 3        เรียงงามน่ายล
ลองนับอีกกหน     น่าค้นหาเอย
ปริศนาคำทายพีชคณิต

  กิจกรรมคณิตศาสตร์สำหรับเด็กใช้ชีวิตประจำในการสอน เช่นม้าลาย 2 ตัวนก       2 ตัวกบ       2 ตัว      เป็ด      2 ตัวนับขาได้กี่ขา รวมเป็น 22 ขา

ทักษะนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย กรอบมาตรฐานคณิตศาสตร์ สาระที่ 4 พีชคณิต นิทานพีชคณิตคำคล้องจองพีชคณิต
             1 2 3 1 2 3 _ _     เลข 1 2 3        แล้วตามด้วย 1
 2 3 มาถึง              เลข 1 อีกหน      1 2 แล้ว 3        เรียงงามน่ายล
ลองนับอีกกหน     น่าค้นหาเอย
นิทานพีชคณิต
ปริศนาคำ
วิธีการสอนอาจารย์มีการใช้คำถาม ให้ข้อเสนอแนะ อธิบายเพิ่มเติมจากการนำเสนอของนักศึกษา และใช้สื่อ power point ในการบรรยาย ทบทวนความรู้เดิม
ประเมิน
สภาพห้องเรียน
เทคโนโลยีภายในห้องเรียนพร้อมต่อการใช้งาน เก้าอี้เพียงพอต่อจำนวนนักศึกษา อากาศภายในห้องถ่ายเท
ตนเอง
 ตั้งใจเรียน แสดงความคิดเห็น และจดบันทึกตรงต่อเวลา 
เพื่อน
เข้าชั้นเรียนตรงเวลา แสดงความคิดเห็น และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมแต่งกายเรียบร้อย
อาจารย์
อาจารย์ให้ความเป็นกันเอง บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม การแต่งกายสะอาดสะอ้าน และเป็นระเบียบเรียบร้อย พูดเสียงดังชัดถ้อยชัดคำ  และเปิดโอกาสให้นักศึกษาถามคำถาม

บันทึกอนุทินครั้งที่10

บันทึกอนุทินครั้งที่10
วันศุกร์ที่ 20 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2558
ความรู้ที่ได้รับ
 ได้รับมอบหมายงาน คือ
  1. แบ่งกลุ่มออกเป็น 8 กลุ่ม 
2.แต่งนิทาน คำคล้องจอง และปริศนาคำทำนายตามมาตรฐานการเรียนรู้คณิศาสตร์เด็กปฐมวัย ทั้ง 6
สาระ โดยเลือกมากลุ่มละ 1 สาระ
ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น

 สาระที่ 1 จำนวสนและการดำเนินการ                              จำนวน  2  กลุ่ม
สาระที่ 2 การวัด                                                                จำนวน  1  กลุ่ม
สาระที่ 3 เรขาคณิต                                                           จำนวน  2  กลุ่ม
สาระที่ 4 พีชคณิต                                                             จำนวน  1  กลุ่ม
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น             จำนวน  1  กลุ่ม
สาระที่่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์           จำนวน  1  กลุ่ม                         




 ทักษะ
- วิคราะห์คำถามร่วมกับเพื่อน
- การแสดงความคิดเห็น

วิธีการสอน
-มีการระดมความคิดร่วมกับนักศึกษา
-การแนะนำ-การยกตัวอย่าง

ประเมิน
สภาพห้องเรียน
- บรรยากาศเย็นสบายเอื้ออำนวยต่อการเรียน
-  อุปกรณ์ในการสอนสะดวกพร้อมใช้งานเย็นดี
ตนเอง
- มาเรียนตรงเวลา ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมในห้องเรียน  จดบันทึกทุกครั้งในการเรียน
เพื่อน
- แต่งกายเรียบร้อย เพื่อนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี
อาจารย์
- แต่งกายสุภาพ เข้าสอนตรงเวลา มีกิจกรรมให้ทำตลอด 

วันพฤหัสบดีที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่9

บันทึกอนุทินครั้งที่9
วันศุกร์ที่13 มีนาคม พ.ศ.2558
ความรู้ที่ได้รับ
นำเสนอวิจัย......โดย นาวสาวประภัสสร สีหะบุตร เลขที่ 21เรื่อง  เรื่อง ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมอบสรุป        ทักษะทางพื้นฐานคณิตศาสตร์ทั้งโดยรวมและรายด้านของเด็กปฐมวัยหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมอย่างมีวินัยสำคํญทางสถิติ การทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมนั้น ควรเตรียมครีมใส่กรวยเมื่อใกล้จะทำเพราะว่าถ้าทิ้งไว้นานจะทำให้นำ้มันในครีมละลายซึมออกมานอกกรวยที่ใส่ครีมแต่งหน้าเค้กควรมีขนาดที่พอเหมาะกับมือของเด็กเพื่อที่จะได้สะดวกกับเด็กในการทำกิจกรรม ศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมอบมีพัฒนาการด้านอื่นๆของเด็กปฐมวัย เช่นด้านความคิดแก้ปัญหา ทักษะทางภาษาส่งเสริมพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและลีลามือ การทำกิจกรรมนี้ทำให้เด็กมีความมั่นใจและตั้งใจในการทำกิจกรรม
นำเสนอวิจัย.....โดย นาวสาวมาศสุภา วงษ์สรรค์ เลขที่ 23เรื่อง  เรื่อง พัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์เด็กปฐมวัยโดยใช้เพลงชื่อผู้วิจัย  นางสาววรชนีกร พ่วงโพธิ์สรุป      ในการส่งเสริมพัฒนาการสติปัญญาของเด็กปฐมวัยนั้นจะแรทรกอยู่ทุกกิจกรรม แต่กิจกรรมที่มีความสนุกสนานและรู้สึกผ่อนคลาย พัฒนาสมอง เพลิดเพลินโดนเด็กไม่รู้เลยว่ากำลังเรียนคณิตศาสตร์อยู่คือ กิจกรรมเคลื่อนไหวและดนตรี เด็กได้เล่นไปพร้อมกับการเคลื่อนไหวและฟังเพลงซึ่งเนื้อหาของเพลงจะสอนเด็กเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับเด็กเล็กอนุบาล ซึ่งมีสมาธิไม่มากพอจะจับมานั่งเรียนคณิตศาสตร์
การจัดประสบการณ์ แบบSTEM
องค์ความรู้ วิชาการของศาสตร์ทั้งสี่ที่มีความเชื่อมโยงกันในโลกของความเป็นจริงที่ต้องอาศัยองค์ความรู้ต่างๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกันในการดำเนินชีวิตและการทำงาน คำว่า STEM ถูกใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มมีลักษณะ  5  ประการได้แก่ (1) เป็นการสอนที่เน้นการบูรณาการ (2) ช่วยนักเรียนสร้างความเชื่อมโยงระหว่างเนื้อหาวิชาทั้ง 4 กับชีวิตประจำวันและการทำอาชีพ   (3) เน้นการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21  (4) ท้าทายความคิดของนักเรียน    (5) เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น
การจัดประสบการณ์ แบบมอนเตสซอรี่       การปลูกฝังให้เด็กได้เจริญเติบโตไปตามความต้องการตามธรรมชาติของเขา การที่จะช่วยให้เด็กได้เจริญเติบโตไปตามขั้นตอนของความสามารถนั้น ควรจะต้องพัฒนาการสอนให้สัมพันธ์กับพัฒนาการความต้องการของเด็ก ที่ต้องการจะเป็นอิสระในขอบเขตที่กำหนดไว้ให้ ตลอดจนการจัดสิ่งแวดล้อมอย่างสมบูรณ์ และพิถีพิถัน การสอนแบบมอนเตสซอรี่ ได้มาจากการที่มอนเตสซอรี่ได้สังเกตเด็กในสภาพที่เป็นจริงของเด็ก ไม่ใช่สภาพที่ผู้ใหญ่ต้องการให้เด็กเป็น จากการสังเกตเด็ก จึงได้พัฒนาวิธีการสอน การจัดเตรียมสิ่งแวดล้อม และอุปกรณ์การสอนต่างๆ ขึ้นมาใช้ โดยเริ่มต้นจากการทดลองที่โรงเรียน ที่มอนเตสซอรี่เข้าไปรับผิดชอบ ที่เรียกว่า Casa Dei Bambini หรือ Children's House แล้ววิธีการสอนนี้จึงได้แพร่หลายต่อไปจนทั่วโลกเช่นในปัจจุบันกรอบมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 2 : การวัด   - ความยาวของสิ่งของต่างๆ เป็นการหาตามแนวนอน   - การวัดความสูงเป็นการหาความยาวแนวตั้ง   - การวัดควายาว ความสูง ของสิ่งของอาจใช้เครื่องมือที่มีหน่วยมาตรฐาน   - ยาวกว่า สั้นกว่า สูงกว่า เตี้ยกว่า เท่ากัน สูงเท่ากัน เป็นคำที่ใช้ในการเปรียบเทียบความยาว ความสูงของสิ่งของต่างๆ   - เรียงลำดับความยาว ความสูง จากมาก-น้อย จากน้อย-มาก   - การชั่งน้ำหนัก ปริมามาตรน้อยกว่า มากกว่า เท่ากัน เป็นคำที่ใช้ในการเปรียบเทียบ   - การตวง   - ตัวเลขบนพันธบัตร   - เวลาในแต่ละวัน   - เช้า สาย บ่าย เที่ยง เย็น วันนี้ พรุ่งนี้   - ใน 1 สัปดาห์ มี 7 วัน อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ 

สาระที่ 3 : เรขาคณิต   - ข้างบน ข้างล่าง เป็นคำใช้บอกตำแหน่ง ทิศทาง ระยะของสิ่งของต่างๆ   - การจำแนก วงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม
สาระที่ 4 : พีชคณิต   - รูปแบบความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์





สาระที่ 5 : การวิเคราะห์ข้อมูลความน่าจะเป็น
    - เก็บข้อมูลจากวิธีการสังเกตุ และ สอบถาม

สาระที่ 6 : ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
     - มีส้ม5ผลกินไป3ผลเหลือส้มกี่ผล
    - เก็บข้อมูลจากวิธีการสังเกตุ และ สอบถาม
สาระที่ 6 : ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์     - มีส้ม5ผลกินไป3ผลเหลือส้มกี่ผล
                      5-3 = 2
        เหลือส้ม2ผล
*** สอนแบบเป็นนิทาน ***
ตัวอย่าง
ครอบครัวของแม่เป็ดทั้งหมด 6 ตัว วันนี้แม่เป็ดจะพาลูกเป็ดออกไปหาอาหาร  จึงให้ลูกเป็ดเดินเป็นแถว
แม่เป็ดเรียกลูกเป็ด 1 2 3 4 5 และรวมแม่เป็ดด้วยเป็น 6 ตัว ทั้งหมดเดินมางไปหาอาหาร และได้หยุดเล่นน้ำที่บึงแห่งหนึ่ง ลูกเป็ด 2 ตัวได้เล่นน้ำไกลออกไปจากแม่และพลัดหลงกับแม่เป็ด  แม่เป็ดเรียกลูกเป็ดให้กลับบ้าน 1 2 3 และแม่เป็ด 4 เอ๊ะ!! หายไปไหน 2 ตัว เพื่อนๆรู้ไหมว่า ครอบครัวเป็ดจะเหลือกี่ตัว?
ทักษะ
การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
วิธีการสอน
 อาจารย์มีการใช้คำถาม ให้ข้อเสนอแนะ อธิบายเพิ่มเติมจากการนำเสนอของนักศึกษา และใช้สื่อ power point ในการบรรยาย ทบทวนความรู้เดิม สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม เสริมทักษะการใช้ชีวิตในสังคมว่าสิ่งใดควรปฏิบัติ ไม่ควรปฏิบัติ
ประเมิน
สภาพห้องเรียน
               มีความสะอาด เรียบร้อยดี อุปกรณ์ เทคโนโลยีครบครัน สภาพอากาศค่อนข้างร้อน เก้าอี้บางตัวชำรุดเสียหาย
ตนเอง   
       แต่งกายถูกระเบียบ ปรับปรุงการนำเสนอหน้าชั้นเรียนไม่ค่อยมีความมั่นใจในตนเอง     
 เพื่อน   
  เมื่อมีข้อสงสัยใดๆจะถามในทันทีทันใด รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ตั้งใจฟังการนำเสอนของเพื่อน     อาจารย์ 
เข้าสอนตรงต่อเวลา การสอนใช้เสียงดังชัดเจน รูปแบบการสอนไม่น่าเบื่อ สนุกสนาน   

วันพุธที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่8

บันทึกครั้งที่8 วันศุกร์ ที่ 6มีนาคม พ.ศ, 2558
บันทึกอนุทิน    

ความรู้ที่ได้รับ
การนำเสนอบทความของเลขที่19,20
น.ส.วราภรณ์ แทนคำ เลขที่ 19
เสนอบทความเรื่อง ทำไมถึงสอนคณิตศาสตร์ให้เด็กเล็ก
     การสอนคณิตศาสตร์ให้ลูกตอนเด็ก มักจะกระตุ้นการเรียนรู้ได้ดี ทำได้หลายวิธี การอ่านให้คิดและยังช่วยกระตุ้นการทำงานของสมอง นอกจากจะช่วยสอนคณิตศาสตร์ให้ลูกแล้วยังจะช่วยให้การเรียนรู้เป็นเรื่อง่ายดายสำหรับเด็ก
น.ส.รัตนาภรณ์ คงกะพันธ์ เลขที่ 20
เสนขอบทความเรื่อง คณิตศาสตร์เรียนอย่างไรให้สนุกและเข้าใจ
     การที่จะทำให้เด็กสนุกก็ต้องมีการต่อยอดจากหนงสือรูปแบบกิจกรรมทำให้เด็กมีส่วนร่วม เช่น เพลง เกม การใช้สื่อมีสีสันสวยงามจะทำให้การเรียนมีระสิทธิภาพมากขึ้น
-สรุปการนำเสนอรูปแบบการเรียนต่างๆ
1.1 รูปแบบการเรียนแบบโครงการ
         หมายถึง การจัดการเรียน การสอนรูปหนึ่งซึ้งให้ความสำคัญกับเด็กส่งเสริมให้เด็กแสวงหาจากการเรียนเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ลักษณะสำคัญ  การค้นหาคำตอบโดยให้เด็กสืบค้นด้วยตนเอง
         กิจกรรมหลักในโครงการ4กิจกรรม
-กิจกรรมแลกเปลี่ยนสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นนชั้น
-กิจกรรมทัศนศึกษา
-กิจกรรมสืบค้น
-กิจกรรมการนำเสนอ
ประโยชน์
เด็กจะเห็นคุณค่าของตนเอง
ส่งเสริมให้เด็กมีโอกาสที่จะประยุกต์ใช้ทักษะที่มีอยู่
1.2 การเรียนรู้โดยการใช้สมองเป็นฐาน
       คือการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการของสมองแต่ล่ะช่วงวัยเป็นการนำองค์ความรู้มาใช้เป็นฐานในการออกแบบกระบวนการการเรียนรู้
1.3 การเรียนรู้รูปแบบการเรียนการสอนมอนเตสเซอรี่
        การจัดการสอนที่มีแนวคิด คำนึงถึงความสนใจ ความต้องการและความมุ่งมั่นตั้งใจในการเรียนรู้ ให้เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างอิสระในขอบเขตที่กำหนดไว้ให้มีการเตรียสิ่งแวดล้้อมจัดห้องเรียนให้เหมาะสมกับเด็ก ให้เด็กซึมซับสิ่งแวดล้อมรอบตัว จนเกิดความอยากรู้อยากเห็น และแสวงหาความรู้อย่างมีสมาธิ มีวินัยในตนเองทำให้เด็กเกิดพัฒนาการ
1.4 รูปแบบการเรียนรู้ของSTEM
        การเรียนรู้กับสิ่งต่างๆในโลกโดยการผ่านประสาทสัมผัสทั้งทำจากการค้นหา ทดลอง การคิด
1.5 การเรียนรู้แบบเดินเรื่อง
       การจัดที่เชื่อมโยงกับเนื้อหาสาระเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่มีความหลาย

ทักษะ
1, การนำเสนอบทความหน้าชั้นเรียน
2.การนำเสนอการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ
3,การร้องเพลงเกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์

วิธีการสอน
1.การสอนโดยการปฎิบัติจริงทำให้นักเรียนมองเห็นภาพ
2.การสอนด้วยเพาเว่อร์พ้อยให้นักเรียนสรุปตาม
3.ให้นักเรียนคิดตาม

ประเมิน
สภาพห้องเรียน
  แอร์เย็นมากเกินไปทำให้หนาวเวลาเรียนและง่วงนอน ห้องสะอาดไม่มีขยะ
ตนเอง
  เข้าเรียนตรงเวลาตั้งใจเรียนดีไม่คุยกับเพื่อนฟังอาจารย์อธิบายความรู้อย่างตั้งใจ
เพื่อน
  มีความพร้อมที่จะเรียนสามารถตอบคำถามอาจารย์ได้ตลอด ไม่เล่และไม่คุยกันในห้องเรียน
อาจารย์
  มีเทคนิคการสอนที่ดีสามาถรทำให้นักเรียนจำได้ ให้คำแนะนำคอยดูแลเอาใจใส่นักเรียนได้อย่างทั่วถึงทำให้เกิดความอบอุ่นน่าเรียน

บันทึกอนุทินครั้งที่7

บันทึกอนุทินครั้งที่ 7
ประจำวันศุกร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558
ความรู้ที่ได้รับจากการเรียน

การจัดห้องเรียนแบบมอนเตสซอรี่
 - จัดจากง่าย >>> ยาก
 - ตรวจสอบได้
 - ของเป็นรูปทรง
 - เน้นการสัมผัส
 - การจัดเป็นระเบียบ
การสอนโดยใช้ตารางเมกทริกซ์
  - การสังเคราะห์ อ่านไม่ออกแต่สามารถบอกได้ เช่น การใช้ภาพ สัญลักษณ์
  - สอนแบบสาธิต เช่น แผนที่
รูปแบบการจัดประสบการณ์
    การจัดประสบการณ์ แบบบูรณาการ
    การจัดประสบการณ์ แบบโครงการ
    การจัดประสบการณ์ แบบสมองเป็นฐาน
    การจัดประสบการณ์ แบบSTEM
    การจัดประสบการณ์ แบบมอนเตสซอรี่
    การจัดประสบการณ์ แบบเดินเรื่อง
การนำไปใช้ 
เด็ก ต้อง ควร อยาก รู้อะไร    >> สาระการเรียนรู้
เด็ก ต้อง ควร อยาก ทำอะไร >> ทักษะ ประสบการณ์สำคัญ
ทักษะ
 นำเสนอโทรทัศน์ครู
โดย นางสาวเวรุวรรณ ชูกลิ่น
สรุป  
   เป็นการจัดกิจกรรมเน้นการจัดแบบใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
ตา - ดู
หู  - ฟังมีกระบอกเสียงให้เด็กได้ฟัง
สัมผัส - ปิดตาและให้เด็กสัมผัสสิ่งต่าง
ดม - จมูกดมกลิ่น
ลิ้น - ชิมน้ำรสชาติต่างๆ
การทำกิจกรรมดังกล่าวเพื่อให้เด็กได้เตรียมความพร้อมในขั้นต่อไป
นำเสนอโทรทัศน์ครู

โดย นางสาววัชรี วงศ์สะอาด
สรุป
    เรียนรู้เรื่องผลไม้ ให้เด็กได้ชิมรสของผลไม้ เล่นจ้ำจี้ผลไม้ และนำเด็กไปทัศนศึกษา แต่ก่อนไปมีการทำข้อตกลงก่อนไปโดยเสนอว่ามีข้อตกลงใดบ้าง เพื่อการมีปฏิสัมพันธ์กับแม่ค้า
ตัวอย่างการเรียนรู้ เมื่อเจอแม่ค้าสวัสดี ถามว่าผลไม้นี้ขายอย่าไร หากเป็นกิโลก็จะให้เด็กช่วยกันนับว่าส้ม 1 กิโลกรัม เข็มกิโลจะเป็นอย่างไร และจะได้ทั้งหมดกี่ผลจะทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้เรื่อง รูปทรง การวัด การนับ
** การจัดการเรียนการสอนรูปแบบนี้ คือ การจัดการเรียนการสอนแบบนอกสถานที่**
เพลง 
นี่คือนิ้วมือของฉัน        มือฉันนั้นมี 10 นิ้ว
มือซ้ายฉันมี 5 นิ้ว         มือขวาก็มี 5 นิ้ว
นับ 1 2 3 4 5                นับต่อมา 6 7 8 9 10
นับนิ้วนั้นจงอย่ารีบ      นับ 1 ถึง 10 จำให้ขึ้นใจ
วิธีการสอน
 ถาม-ตอบ ให้ผู้เรียนได้ตอบคำถามเพื่อให้ได้คำตอบที่มีความสมบูรณ์ เช่น การจัดประสบการณ์ดังกล่าวเป็นรูปแบบใด เป็นแนวคิดของใคร
นำเสนอผ่านโปรแกรมMicrosoft Office Power Point  เน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียน 
สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมให้กับผู้เรียน
ประเมินสภาพในห้องเรียน

รูปแบบการนั่งเรียนเน้นให้ผู้เรียนได้มองเห็นผู้สอนอย่างทั่วถึง และ ผู้สอนก็สามารถมองเห็นผู้เรียนได้อย่างทั่วถึง
ประเมิน

  ตนเอง -  ขาดความรับผิดชอบเนื่องด้วยไม่ได้นำป้ายชื่อไปเรียน เข้าเรียนตรงเวลา
  เพื่อน   -  มีการให้การร่วมมือในการทำกิจกรรมต่างๆ เสนอความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
  อาจารย์ - การสอนใช้เสียงดังชัดเจน  อธิบายถึงเรื่องต่างๆได้อย่างเข้าใจ มีกิจกรรมต่างๆให้ทำอย่างสนุกสนานและเข้าใจในเรื่องนั้นๆเพิ่มยิ่งขึ้น

*หมายเหตุ คัดลอกมาจากนางสาว รัตนาพร คงกระพันธ์

บันทึกอนุทินครั้งที่6

วันพุธที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
บันทึกอนุทิน
เทคนิคการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์
         อาจารย์ให้นักศึกษานำป้ายชื่อไปติดในช่องตาราง โดยกำหนดหัวข้อ คือ สถานที่ที่จะไปในวันวาเลนไทน์
    เลขที่ 15 รายงานวิจัยเรื่อง การใช้กิจกรรมการละเล่นแบบไทยเพื่อพัฒนามโนทัศน์ด้านคณิตศาสตร์
การใช้เพลงที่แต่งขึ้นเอง จัดประสบการณ์เพื่อสงเสริมสาระรู้ค่าของจำนวนสำหรับเด็กปฐมวัย
       อาจารย์มีการใช้แบบทดสอบก่อนเรียน เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้แสดงความรู้เดิม  ใช้สื่อ power point ในการบรรยาย และใช้เกมในการสอน เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้โดยการได้ลงมือปฏิบัติจริง

สภาพห้องเรียน
ตนเอง

บันทึกครั้งที่ 6 วันศุกร์ที่ 13 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558


องค์ความรู้

เนื้อหา/สาระ
    เทคนิคการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์
    กิจกรรมการจัดประสบการณ์เพื่อส่งเสริมสาระตามมาตรฐาน

    นิทาน กำหนดจุดประสงค์ว่าต้องการอะไร และวางตัวละครของเรื่อง
    เพลง การใช้จังหวะเพื่อให้เด็กได้นับจังหวะของเพลง
    เกม เกมเกี่ยวกับจำนวน เช่น บิงโก โดมิโน
    คำคล้องจอง สามารถแต่งขึ้นเอง และดัดแปลงเนื้อหาให้สอดคล้องกับสาระที่เรียนรู้
    ปริศนาคำทาย ควรเพิ่มลักษะณะขึ้นเรื่อยๆให้เด็กได้เชื่อมโยงความรู้เก่ากับความรู้ใหม่
    บทบาทสมมติ การเล่นกิจกรรมเสรี เช่น การเล่นขายของ
    แผนภูมิภาพ เช่น  แผนภูมิรูปภาพ/ของจริง แผนภูมิแท่ง  แผนภูมิวงกลม 
    การประกอบอาหาร
    
กิจกรรมการจัดประสบการณ์เพื่อส่งเสริมสาระตามมาตรฐาน
          ยุภา   ธรรมโคตร นำเสนอเทคนิคการจัดประสบการณ์ผ่านเกม โดยใช้สื่อที่เป็นจิ๊กซอเพื่อส่งเสริมสาระที่ 3 เรขาคณิต และสาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
        กมลรัตน์   มาลัย นำเสนอเทคนิคการจัดประสบการณ์ผ่านมุมบทบาทสมสติ โดยการเล่นมุมร้านค้าเพื่อส่งเสริมสาระที่ 2 การวัด
         ปรางชมพู   บุญชม นำเสนอเทคนิคการจัดประสบการณ์ผ่านกิจกรรม โดยใช้สื่อที่เป็นรูปทรง จากการให้เด็กจำแนกประเภทของรูปทรงแต่ละชนิดเพื่อส่งเสริมสาระที่ 4 พีชคณิต
         ประภัสสร   คำบอนพิทักษ์ นำเสนอเทคนิคการสอน โดยให้เด็กนั่งตามชื่อที่ติดไว้ สอนในเรื่องของตำแหน่ง และระยะทางเพื่อส่งเสริมสาระที่ 3 เรขาคณิต



ทักษะ





          การจัดกิจกรรมดังกล่าวเด็กได้เรียนรู้ทักษะการรวม การแยกกลุ่ม และการวิเคราะห์ข้อมูลจากการได้ลงมือปฏิบัติจริง

การรายงานวิจัยหน้าชั้นเรียนของเพื่อนเลขที่ 13 - 15
   
    เลขที่ 14 รายงานวิจัยเรื่อง ผลการใช้สื่อในท้องถิ่นเพื่อพัฒนาทักษะคณิตศาสตร์
                   สรุปวิจัย การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านสื่อในท้องถิ่น 4 ประเภท คือ รูปทรงเรขาคณิต ประเภทตามขนาด ประเภทตามชนิด และประเภทตามสี  เช่น การเล่นบล็อกที่ทำจากไม้ประดู่ และกะลามะพร้าว เป็นต้น

                  สรุปวิจัย การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบการเรียนปนเล่น โดยใช้การละเล่นแบบไทย เช่น การละเล่นรีรีข้าวสาร ม้าก้านกล้วย และเกมบรรไดงู เพื่อพัฒนามมโนทัศน์ด้านคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การนับเลข จำนวน 1 - 30 ตัวเลขจำนวนคู่ - คี่ และการเปรียบเทียบจำนวนมากกว่า น้อยกว่า เท่ากับ โดยมีขั้นตอนการจัดเริ่มจากง่ายไปหายาก และเป็นรูปธรรมไปสู่นามธรรม เพื่อฝึกความมีเหตุผล ให้สัมพันธ์กับช่วงอายุ


*** เพลง เลขสอง ***
                                                   ไข่ 2 ฟอง            กลอง 2 ใบ 
                                                   ไก่ 2 ตัว               วัว 2 เขา 
                                                   เกาเหลา 2 ชาม    นับไปนับมา 
                                                   สองอย่างหมดเลย
กิจกรรมการเรียนรู้
เกม       การหารูปทรงจากสี่เหลี่ยม
สื่อ         กระดาษสีทรงสี่เหลี่ยมขนาด 1.5 X 1.5 นิ้ว จำนวน 10 ชิ้น
วิธีเล่น   ให้สร้างรูปทรงจากจำนวนสี่เหลี่ยมที่กำหนด โดยด้านใดด้านหนึ่งของสี่เหลี่ยมติดกัน
โจทย์    จำนวน 1 ชิ้น    >>>   จำนวนรูปทรงที่ได้ ?
             จำนวน 2 ชิ้น   >>>    จำนวนรูปทรงที่ได้ ? 
             จำนวน 3 ชิ้น   >>>    จำนวนรูปทรงที่ได้ ?
             จำนวน 4 ชิ้น   >>>    จำนวนรูปทรงที่ได้ ?
             จำนวน 5 ชิ้น   >>>    จำนวนรูปทรงที่ได้ ?
คำตอบ จำนวน 1 ชิ้น    >>>   จำนวนรูปทรงที่ได้ คือ 1 รูป
               ได้แก่
                     
              จำนวน 2 ชิ้น   >>>   จำนวนรูปทรงที่ได้ คือ 1 รูป
                ได้แก่
                   
             จำนวน 3 ชิ้น   >>>   จำนวนรูปทรงที่ได้ คือ 2 รูป
               ได้แก่
                    
              จำนวน 4 ชิ้น   >>>   จำนวนรูปทรงที่ได้ คือ 5 รูป
                ได้แก่
                   
               จำนวน 5 ชิ้น   >>>   จำนวนรูปทรงที่ได้ คือ 12 รูป
                 ได้แก่
                  



วิธีการสอน

ประเมิน

เทคโนโลยีภายในห้องเรียนพร้อมต่อการใช้งาน เก้าอี้เพียพอต่อจำนวนนักศึกษา อากาศถ่ายเท

เข้าชั้นเรียนตรงเวลา จดบันทึก สรุปความจากอาจารย์บรรยาย แนะนำ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
เนื่องด้วยเป็นวันสุดท้ายของการเรียน ทำให้เหนื่อยล้า และไม่มีสมาธิระหว่างเรียนเท่าที่ควร

เพื่อน
เข้าชั้นเรียนตรงเวลา มีความสนใจและตั้งใจเรียน แสดงความคิดเห็น และตอบคำถามอาจารย์

อาจารย์
อาจารย์ให้ความเป็นกันเอง บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม การแต่งกายสะอาดสะอ้าน และเป็นระเบียบเรียบร้อย พูดเสียงดังชัดถ้อยชัดคำ เข้าสอนตรงเวลา และเปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม แสดงความคิดเห็น
 หมายเหตุ ศึกษามาจาก นางสาว วราภรณ์ แทนคำ