วันพฤหัสบดีที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่9

บันทึกอนุทินครั้งที่9
วันศุกร์ที่13 มีนาคม พ.ศ.2558
ความรู้ที่ได้รับ
นำเสนอวิจัย......โดย นาวสาวประภัสสร สีหะบุตร เลขที่ 21เรื่อง  เรื่อง ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมอบสรุป        ทักษะทางพื้นฐานคณิตศาสตร์ทั้งโดยรวมและรายด้านของเด็กปฐมวัยหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมอย่างมีวินัยสำคํญทางสถิติ การทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมนั้น ควรเตรียมครีมใส่กรวยเมื่อใกล้จะทำเพราะว่าถ้าทิ้งไว้นานจะทำให้นำ้มันในครีมละลายซึมออกมานอกกรวยที่ใส่ครีมแต่งหน้าเค้กควรมีขนาดที่พอเหมาะกับมือของเด็กเพื่อที่จะได้สะดวกกับเด็กในการทำกิจกรรม ศิลปะสร้างสรรค์ด้วยขนมอบมีพัฒนาการด้านอื่นๆของเด็กปฐมวัย เช่นด้านความคิดแก้ปัญหา ทักษะทางภาษาส่งเสริมพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและลีลามือ การทำกิจกรรมนี้ทำให้เด็กมีความมั่นใจและตั้งใจในการทำกิจกรรม
นำเสนอวิจัย.....โดย นาวสาวมาศสุภา วงษ์สรรค์ เลขที่ 23เรื่อง  เรื่อง พัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์เด็กปฐมวัยโดยใช้เพลงชื่อผู้วิจัย  นางสาววรชนีกร พ่วงโพธิ์สรุป      ในการส่งเสริมพัฒนาการสติปัญญาของเด็กปฐมวัยนั้นจะแรทรกอยู่ทุกกิจกรรม แต่กิจกรรมที่มีความสนุกสนานและรู้สึกผ่อนคลาย พัฒนาสมอง เพลิดเพลินโดนเด็กไม่รู้เลยว่ากำลังเรียนคณิตศาสตร์อยู่คือ กิจกรรมเคลื่อนไหวและดนตรี เด็กได้เล่นไปพร้อมกับการเคลื่อนไหวและฟังเพลงซึ่งเนื้อหาของเพลงจะสอนเด็กเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับเด็กเล็กอนุบาล ซึ่งมีสมาธิไม่มากพอจะจับมานั่งเรียนคณิตศาสตร์
การจัดประสบการณ์ แบบSTEM
องค์ความรู้ วิชาการของศาสตร์ทั้งสี่ที่มีความเชื่อมโยงกันในโลกของความเป็นจริงที่ต้องอาศัยองค์ความรู้ต่างๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกันในการดำเนินชีวิตและการทำงาน คำว่า STEM ถูกใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มมีลักษณะ  5  ประการได้แก่ (1) เป็นการสอนที่เน้นการบูรณาการ (2) ช่วยนักเรียนสร้างความเชื่อมโยงระหว่างเนื้อหาวิชาทั้ง 4 กับชีวิตประจำวันและการทำอาชีพ   (3) เน้นการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21  (4) ท้าทายความคิดของนักเรียน    (5) เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น
การจัดประสบการณ์ แบบมอนเตสซอรี่       การปลูกฝังให้เด็กได้เจริญเติบโตไปตามความต้องการตามธรรมชาติของเขา การที่จะช่วยให้เด็กได้เจริญเติบโตไปตามขั้นตอนของความสามารถนั้น ควรจะต้องพัฒนาการสอนให้สัมพันธ์กับพัฒนาการความต้องการของเด็ก ที่ต้องการจะเป็นอิสระในขอบเขตที่กำหนดไว้ให้ ตลอดจนการจัดสิ่งแวดล้อมอย่างสมบูรณ์ และพิถีพิถัน การสอนแบบมอนเตสซอรี่ ได้มาจากการที่มอนเตสซอรี่ได้สังเกตเด็กในสภาพที่เป็นจริงของเด็ก ไม่ใช่สภาพที่ผู้ใหญ่ต้องการให้เด็กเป็น จากการสังเกตเด็ก จึงได้พัฒนาวิธีการสอน การจัดเตรียมสิ่งแวดล้อม และอุปกรณ์การสอนต่างๆ ขึ้นมาใช้ โดยเริ่มต้นจากการทดลองที่โรงเรียน ที่มอนเตสซอรี่เข้าไปรับผิดชอบ ที่เรียกว่า Casa Dei Bambini หรือ Children's House แล้ววิธีการสอนนี้จึงได้แพร่หลายต่อไปจนทั่วโลกเช่นในปัจจุบันกรอบมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 2 : การวัด   - ความยาวของสิ่งของต่างๆ เป็นการหาตามแนวนอน   - การวัดความสูงเป็นการหาความยาวแนวตั้ง   - การวัดควายาว ความสูง ของสิ่งของอาจใช้เครื่องมือที่มีหน่วยมาตรฐาน   - ยาวกว่า สั้นกว่า สูงกว่า เตี้ยกว่า เท่ากัน สูงเท่ากัน เป็นคำที่ใช้ในการเปรียบเทียบความยาว ความสูงของสิ่งของต่างๆ   - เรียงลำดับความยาว ความสูง จากมาก-น้อย จากน้อย-มาก   - การชั่งน้ำหนัก ปริมามาตรน้อยกว่า มากกว่า เท่ากัน เป็นคำที่ใช้ในการเปรียบเทียบ   - การตวง   - ตัวเลขบนพันธบัตร   - เวลาในแต่ละวัน   - เช้า สาย บ่าย เที่ยง เย็น วันนี้ พรุ่งนี้   - ใน 1 สัปดาห์ มี 7 วัน อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ 

สาระที่ 3 : เรขาคณิต   - ข้างบน ข้างล่าง เป็นคำใช้บอกตำแหน่ง ทิศทาง ระยะของสิ่งของต่างๆ   - การจำแนก วงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม
สาระที่ 4 : พีชคณิต   - รูปแบบความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์





สาระที่ 5 : การวิเคราะห์ข้อมูลความน่าจะเป็น
    - เก็บข้อมูลจากวิธีการสังเกตุ และ สอบถาม

สาระที่ 6 : ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
     - มีส้ม5ผลกินไป3ผลเหลือส้มกี่ผล
    - เก็บข้อมูลจากวิธีการสังเกตุ และ สอบถาม
สาระที่ 6 : ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์     - มีส้ม5ผลกินไป3ผลเหลือส้มกี่ผล
                      5-3 = 2
        เหลือส้ม2ผล
*** สอนแบบเป็นนิทาน ***
ตัวอย่าง
ครอบครัวของแม่เป็ดทั้งหมด 6 ตัว วันนี้แม่เป็ดจะพาลูกเป็ดออกไปหาอาหาร  จึงให้ลูกเป็ดเดินเป็นแถว
แม่เป็ดเรียกลูกเป็ด 1 2 3 4 5 และรวมแม่เป็ดด้วยเป็น 6 ตัว ทั้งหมดเดินมางไปหาอาหาร และได้หยุดเล่นน้ำที่บึงแห่งหนึ่ง ลูกเป็ด 2 ตัวได้เล่นน้ำไกลออกไปจากแม่และพลัดหลงกับแม่เป็ด  แม่เป็ดเรียกลูกเป็ดให้กลับบ้าน 1 2 3 และแม่เป็ด 4 เอ๊ะ!! หายไปไหน 2 ตัว เพื่อนๆรู้ไหมว่า ครอบครัวเป็ดจะเหลือกี่ตัว?
ทักษะ
การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
วิธีการสอน
 อาจารย์มีการใช้คำถาม ให้ข้อเสนอแนะ อธิบายเพิ่มเติมจากการนำเสนอของนักศึกษา และใช้สื่อ power point ในการบรรยาย ทบทวนความรู้เดิม สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม เสริมทักษะการใช้ชีวิตในสังคมว่าสิ่งใดควรปฏิบัติ ไม่ควรปฏิบัติ
ประเมิน
สภาพห้องเรียน
               มีความสะอาด เรียบร้อยดี อุปกรณ์ เทคโนโลยีครบครัน สภาพอากาศค่อนข้างร้อน เก้าอี้บางตัวชำรุดเสียหาย
ตนเอง   
       แต่งกายถูกระเบียบ ปรับปรุงการนำเสนอหน้าชั้นเรียนไม่ค่อยมีความมั่นใจในตนเอง     
 เพื่อน   
  เมื่อมีข้อสงสัยใดๆจะถามในทันทีทันใด รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ตั้งใจฟังการนำเสอนของเพื่อน     อาจารย์ 
เข้าสอนตรงต่อเวลา การสอนใช้เสียงดังชัดเจน รูปแบบการสอนไม่น่าเบื่อ สนุกสนาน   

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น